http://thaicursor.blogspot.com  getcode

วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทค

 

4. ชื่อและหน้าที่ของ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ

         เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ์และเทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คือ ระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ั กันทั่วไป ส่วนเทคโนโลยีการสื่อสาร เป็น เทคโนโลยีที่ทำให้เครื่อง คอมพิิวเตอร์ติดต่อกับเครื่องอื่น ๆ ภาย นอกได้
    4.1 วงจรแลน (Lan card)
       
                               แผ่นวงจรแลน
        การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะใกล้ เช่น ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เมื่อนักเีรียนกดดับเบิลคลิกี่สัญรูป network และ view network computer จะเห็นสัญรูปของเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ โดยนักเีรียนสามารถเข้่า ไปใ้ช้ทรัีพยากรในเครื่องที่ อนุญาตไว้ เ่ช่น คัดลอกโปรแกรม หรือ นำข้อมูลมาวางในเครื่องที่นักเรียนใช้การเชื่้อมต่อของเครื่อง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะใช้สายแลนนำสัญญาณเชื่่อมต่อผ่าน วงจรแลน ซึ่งเป็น แผ่นวงจรที่ ติดตั้งเพิ่มลงในเครื่อง ดังรูปข้างบน หรืออาจเป็นวงจรสำเร็จ ที่ติดตั้งมาในแผงหลักโดยตรง ก็ได้ ดังรูป ข้่างล่าง

                        

วงจรแลนที่ติดตั้งมาในแผงหลักจะอยู่ในกรอบ
สี่เหลี่ยมด้านหลังของแผงวงจรหลัก

 
      การเชื่อมต่อแบบนี้เรียกว่า ระบบเครือข่ายแบบข่ายงานเฉพาะที่ (Local Area Network หรือ LAN) สายนำสัญญาณของทุกเครื่อง จะไปรวมกันที่อุปกรณ์กระจายสัญญาณเรียกว่า ฮับ (hub)

    4.2 ฮับ (hub)
          เนื่องจากการต่อสายแลนระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดย ตรง จะต่อได้ เพียง 2 ตัวเท่านั้น ถ้าต้องการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ ์มากกว่า 2 ตัว ต้องมีอุปกรณ์ทำหน้า่ที่เป็นศูนย์กลาง การเชื่อมต่อที่ เรียกว่า ฮับ
    
    ฮับขนาด 24 ช่องสัญญาณเหมาะสำหรับเครือข่ายขนาดใหญ่
       สายนำสัญญาณที่ต่อออกจากวงจรแลนของแต่ละเครื่องจะมา รวมกันที่ี่ฮับ ซึ่งทำหน้าที่เป็นสถานีติดต่อระหว่างเครื่องแต่ละ เครื่อง นอก จากนี้ฮับรุ่นใหม่ ๆ ยังสามารถขยายสัญญาณเพิ่มลงในสาย สัญญาณเพื่อให้ส่ง ข้อมูลไปไกล ๆ ได้ เรียกว่า สวิทชิง (switching)
 


ฮับขนาด 8 ช่องสัญญาณ เหมาะสำหรับเครือข่ายขนาดเล็ก



       ฮับมีหลายขนาดขึ้นอยู่กับความต้องการใช้ เ่ช่น ฮับขนาด 8 ช่อง สัญญาณ ถ้านำมาต่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดต่อ ไปยังเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ตทุกเครื่องจะต่อได้ 7 เครื่อง อีกช่องสัีญญาณต่อไป ยังโมเด็ม เราท์เตอร์

    4.3 โมเด็ม (modem)
           โมเด็มชนิดภายใน (ซ้าย) และโมเด็มชนิดภายนอก (ขวา)
          โมเด็ม (modem) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแปลงสัญญาณของ ระบบคอมพิวเตอร์ไปเป็นสัญญาณโทรศัพท์ เรียกว่า การกล้ำ สัญญาณ และ แยกสัญญาณของโทรศัพท์ ที่รับเข้ามากลับเป็น สัญญาณของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา สามารถติดต่อกับ เครื่อง คอมพิวเตอร์์อื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกลได้ ้เรียกว่า ข่ายงานบริเวณกว้าง (Wide Area Network หรือแวน WAN) เช่น เครือข่ายอินเตอร์เน็ตโมเด็มมี 2 ชนิด คือ ชนิดเป็น แผ่นวงจร ติดตั้งไว้ภายใน
เครื่องและชนิดตลับแยก ส่วนอยู่ภายนอกเครื่อง แผงหลักส่วนใหญ่ไม่นิยมติดตั้งโมเด็มไว้้ภายในต้องจัดหาเพิ่มเติม เอง
          การใช้อินเตอร์เน็ตผ่านโมเด็ม นักเรียนต้องซืื้อชั่วโมง การ ใช้งานจากผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตหรือไอเอสพี (ISP : Internet Sevvice Provider) ซึ่งมีหลายบริษัท ค่าบริการก็จะแตกต่างกันไปตามจำนวนั่วโมง ใช้งาน ระบบนี้เป็นระบบแอนะล็อก มีความเร็ว เป็นกิโลบิตต่อวินาที เช่น 56.6 KBps (56.6 กิโลบิตต่อวินาที 1 กิโล = 1,000) ซึ่งจัดว่าช้ามาก แต่มีข้อดีคือ ราคาถูก เหมาะสำหรับ การใช้ ้เป็นครั้งคราว

      4.4 ระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ADSL
            (
Asymmetric Digital Subscriber Line)
            ระบบอินเตอร์เน็ต
ความเร็วสูง ADSL เป็นระบบอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูงแบบดิจิทัลให้บริการโดยผู้ให้บริการโทรศัพท์ที่ ใช้ใน บ้าน โดยต่อโทรศัพท์ความเร็วสูง เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ ์ผ่าน โมเด็มเราท์เตอร ์ระ่บบน้ จะคิดค่าบริการแบบเหมาจ่าย รายเดือน ราคาขึ้น อยู่กับที่ใช้บริการ หน่วยวัด ความเร็วเป็นเมกะบิต (1 เมกะ = 1,000,000)
      4.5 ระบบสายเช่า (lease line)
            ระบบสายเช่าเป็นระบบให้เช่าสายตรงของทีโอทีใช้สำหรับ ติดต่อ ระหว่างศูนย์บริการกับผู้เช่าโดยตรง เช่น ระบบอินเตอร์เน็ต ของกลุ่ม โรงเรียนในฝัน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สายเช่าจะ เชื่อมต่อระหว่างศูนย์คอมพิวเตอร์ จากกระทรวงศึกษาธิการไปยังโรง
เรียนโดยตรง
      4.6 ระบบไร้สาย (wireless)
            นอกจากสายสัญญาณแล้วยังสามารถเชื่อมโยงข้อมูลด้วย ระบบคลื่น วิทยุ โดยใช้เครื่องมือแปลงสัญญาณเรียกว่า access point ทำหน้าที่แปลง สัญญาณไฟฟ้าไปเป็นสัญญาณของคลื่นวิทยุ รับส่ง ระหว่างศูนย์รับส่ง สัญญาณกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น การสั่ง อาหารในร้านอาหารขนาดใหญ่ พนักงานจะมีเครื่อง คอมพิวเตอร์ ขนาดฝ่ามือ สำหรับกดเลือก รายการ อาหาร ตามสั่ง ข้อมูลจะถูกส่ง เป็นคลื่นวิทยุไปที่ศูนย์รับส่งที่อยู่ใกล้ ๆ ศูนย์รับส่งจะส่งรายการ อาหารไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องครัว แล้วพิมพ์รายการออก มาพร้อมกับส่งรายการไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของฝ่ายบัญชีเพ
ื่อคิดเงินรวมและพิมพ์ใบเสร็จ

                       
      4.7 โมเด็มเราท์เทอร์ (modem router)
                                              
                                             โมเด็มเราท์เทอร์
       ระ่บบโทรศัีพท์ความเร็วสูงจะใช้โมเด็มความเร็วสูงรับสัญญาณ ดิจิทัล จากระบบโทรศัพท์ แล้วส่งออกไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ ์ทาง ช่อง สัญญาณ แบบแลน แต่มีสัญญาณออกตั้งแต่ 4 ช่อง สัญญาณ ขึ้นไป โดยมีอุปกรณ์ จัดเส้นทาง (router) อยู่ในตัวด้วย ทำให้ เื่ชื่อม ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้มากกว่าหนึ่งตัว จึงเรียกว่า โมเด็มเราท์เตอร์ คือ เป็นทั้งโมเด็ม และ อุปกรณ์จัดเส้นทาง
      4.8 ระบบรับ - ให้บริการ (client - server system)

             
                              ห้องสมุดที่ใช้ระบบรับ - ให้บริการ
            นอกจากการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์เ้ข้าเป็นเครือข่่าย แล้ว ยังมีระบบรับและให้บริการ โดยมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีความ เร็วสูงและมีอุปกรณ์เก็บข้อมูลได้มาก ๆ ทำหน้าที่เป็น เครื่องบริการ (sever) เชื่อมโยงไปยังระบบแลนภายในเครื่อง บริการจะเก็บ โปรแกรมต่าง ๆ ไว้ เช่น โปรแกรมฝึกสนทนา ภาษา อังกฤษ โปรแกรมระบบห้องสมุด เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อก้ับระบบ แลนทุกเครื่องเป็น เครื่องรับบริการ (client) ทั้งเครื่องบริการ และ เครื่องรับบริการจะถูกตั้งชื่อ เป็นรหัส ตัวเลข ที่ไม่ซ้ำ้กัน เช่น 190.168.0. 00 และ 190.168.0.01 ไปจนครบทุกเครื่อง ตััวเลขชุดนี้ เรียกว่า ไอพีแอดเดรส (IP address)
            เมื่ือนักเรียน
ต้องการเรียนภาษาอังกฤษก็จะเชื่อมโยงเครื่อง ของนักเรียนเข้าไปใน เครื่องบริการ เรียกว่า การล็อกอิน (login) แล้วใช้โปรแกรมได้โดยไม่ต้องมีโปรแกรมนี้ในเครื่องของนักเรียน
            การใช้บริการอินเตอร์เน็ตก็เช่นเดียวกัน เครื่องบริการ สามารถควบคุม ระดับ การเข้าไปในเว็บไซต์ต่าง ๆ ได้ และยังบันทึก วันเวลา และเว็บไซต์ที่่นักเรียนเข้าไปไว้ให้ผู้ดูแลระบบ สามารถ ตรวจสอบ ได้ว่า นักเรีย
นชั้นไหน ชื่ืออะไร เข้าไปทำอะำไร ใน เว็บไซต์ใดได้ตลอดเวลา
      4.9 กล้องดิจิทัล (digital camera) และสแกนเนอร์ (scanner)
            กล้องถ่ายภาพทั่วไปทำงานโดยรับแสงผ่านเลนส์แล้วตก กระทบบนแผ่นฟิล์มซึ่งทำหน้าที่เป็นฉากรับภาพเหมืือนการมองเห็น ของลูกนัยน์ตามนุษย์ กล้องดิจิทัลก็เช่นเดียวกัน แต่ใช้จอภาพ ทำหน้าที่แทนแผ่นฟิล์ม เมื่อส่องกล้องไปยังสิ่งที่ต้องการจะเห็นภาพ บนจอภาพทันที และเมื่อกดปุ่มถ่ายภาพภาพบนจอจะถูกบันทึกลง ในหน่วยความจำเป็นการเปลี่ยนวัตถุให้อยู่ในรูปของ ข้อมูล ดิจิทัล จำนวนภาพที่เก็บขึ้นอยูู่่กับขนาดของหน่วยความจำ โทรศัพท์มือถือ ที่ถ่ายภาพได้มีการทำงาน แบบเดียวกัน เมื่อต่อ กล้องกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ภาพในกล้อง จะแสดงบนจอคอมพิวเตอร์และสามารถ จัดเก็บลงในระบบของคอมพิวเตอร์หรือ สั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์ ได้ทันที
               
            สแกนเนอร์มีชื่อเรียกเป็นภาษาไทยว่า เครื่องกราดตรวจ หรือ เครื่องกราดภาพ ทำหน้าที่กราดภาพหรือข้อความที่เป็นสิ่งพิมพ์ ให้เปลี่ยนเป็นข้อมูลดิจิทัล สแกนเนอร์มีการทำงานด้วยเครื่องถ่าย เอกสาร คือ ส่งแสงไปกระทบเอกสาร ที่วางไว้แล้ว รับแสงสะท้อน กลับมายังเครื่องอ่านให้เปลี่ยนสัญญาณแสงไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า ในรูปแบบดิจิทัล แล้วบันทึกเป็นแฟ้มภาพ
            เครื่องพิมพ์บางรุ่นนอกจากพิมพ์ภาพและ้ข้อความแล้วยัง สแกนภาพและถ่ายสำเนาไ้ด้ในเครื่องเดียวกัน
         
                                         สรุปสาระสำคัญ
1. ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. การจัดเก็บข้อมูลในยุคก่อน ๆ จะใช้วัสดุตามธรรมชาติที่ ี่เหมาะสมเป็นเครื่องมือจัดเก็บ

3. การจัดเก็บข้อมูลในระบบสารสนเทศจะเก็บในหน่วยเก็บที่ ี่หลากหลาย เช่น ในฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี หน่วยความจำ แบบแฟลช
4. เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนำเอาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์์เทคโนโลยีการสื่อสารมารวมกันผลิตสารสนเทศที่เป็น
ประโยชน์ต่อสังคม
5. อุัปกรณ์พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ เครื่องคอมพิว เตอร์ที่ทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลและประมวลผลตามคำสั่งที่ กำหนด เครื่ืองพิมพ์ใช้พิมพ์ผลที่ต้องการนำไปเผยแพร่ การเชื่อม ต่อกับภายนอกมี 2 แบบ คือ
  • เชื่อมต่อระยะไกล เรียกว่า
ระบบแวน (WAN : Wide Area Network) ใช้โมเด็ม และโทรศัพท์ที่เป็นเครื่องมือ
  • เชื่อมต่อเฉพาะบริเวณ เช่น ระหว่างห้องหรืออาคาร ใช้ระบบ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ อุปกรณ์เชื่อมต่อกับภายนอก คือ แผ่นวงจรแลน (LAN Card) และสายนำสัญญาณใช้เชื่อมต่อ ระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์
  • 6. ระบบรับ - ให้บริการ เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี สมรรถนะสูง ทำหน้าที่เป็นเครื่องรับบริการ
    7. กล้องดิจิทัลทำหน้าที่บันทึกภาพเป็นข้อมูลแบบดิจิทัล
    8. สแกนเนอร์ทำหน้าที่กราดภาพและข้อความจากเอกสารให้อยู่ใน รูปของข้อมูลดิจิทัล

                                                            
                                       คำศัพท์ประจำหน่วย
    คำศัพท์
    คำอ่าน
    ความหมาย
    access point
    แอกเซส พอยนท์ตำแหน่งที่่เข้าถึงสัญญาณ card คาร์ดบัตร แผ่นวงจร data ดา-ต้า หรือ เด-ต้าข้อมูล e - mail อีเมลไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ internet อินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนดใหญ่ LAN แลนข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ modem โมเด็มตัวกล้ำแยกสัญญาณ network เน็ตเิวิร์คเครือข่าย router เราท์เทอร์อุปกรณ์จัดเส้นทาง scanner สแกนเนอร์เครื่องกราดภาพ sticker สทิค'เคอะฉลากติด system ซีสเท็มระบบ WAN แวนข่ายงานบริเวณกว้าง Wideไวด์กว้าง ไกล wirelessวร์เลสไร้สาย            
    จัดทำโดยคุณครูสุดใจ เพลงสา ครูชำนาญการ
    โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก สำนักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
    อีเมล์ : itsudjai@gmail.com
    เว็บไซต์ : www.ssn.ac.th/sudjai
    สงวนลิขสิทธิ์ 2554

    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น